วันจันทร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สรุปโทรทัศน์ครู






        ของเล่นและของใช้คุณครูสุวรรณา ชโลวัฒนะ โรงเรียนบ้านเหมืองแร่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สอนปฐมวัยโดยยึดหลักกระบวนการให้นักเรียนได้จดจำ และสังเกตุแยกแยะของเล่น ของใช้ที่มีประโยชน์ผ่านการเคลื่อนไหวทางร่างกาย และการสัมผัส ทำให้นักเรียนเข้าใจและจดจำนำไปใช้ที่บ้านได้การจัดประสบการณ์โดยการนำวัสดุอุปกรณ์ของเล่นของใช้ที่เป็นของจริงมาเป็นสื่อนั้นเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณค่าที่สามารถทำให้เด็กได้เรียนรู้จากของจริงเด็กได้สัมผัสจริงได้เห็นของจริงเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกตุ รู้จัก แยกแยะ เปรียบเทียบรวมทั้งทำให้เด็กได้จดจำสิ่งต่างๆเด้กจะได้จำสิ่งต่างๆนำไปใช้เชื่อมโยงกับการใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งทำให้เด้กมีความสุขและสนกกับการเรียนปนเล่นและทั้งยังสามารถเอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี และของเล่นบางชนิดยังสามารถนำมาทำเป็นของเล่นหรืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 17


 

วันอังคาร ที่ 25 เดือนกันยายน พ.ศ 2555

ความรู้ที่ได้รับ
           
             - อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคน แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับแท็บเล็ต ว่าแท็บเล็ตมีข้อดีข้อเสียยังไง โดยอาจารย์ให้หัวข้อมา 2 หัวข้อ คือ 
                    1. การใช้แท็บเล็ตในชั้นประถมศึกษามีขอดีและข้อเสียอย่างไร
                    2. การใช้แท็บเล็ตในชั้นอนุบาลมีข้อดีและข้อเสียอะไรบ้าง

             - อาจารย์สรุปข้อดีและข้อเสียของแท็บเล็ต
             - อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันแสดงความคิดเห็นในหัวข้อ "วิธีการที่ทำให้เกิดการเรียนรู้มีอะไรบ้าง"    
1. การบรรยายจากผู้สอน  สามารถเอาไปใช้กับตัวเองในชีวิตประจำวัน
                            
2. การวิเคราะห์  วิเคราะห์ในเนื้อหาที่สนในว่ามีประเด็นอะไร มีเนื้อหาสาระอะไรที่สำคัญบ้าง ในการวิเคราะห์อาจจะแตกองค์ความรู้ออกมาในรูปแบบของMind map
                            
3. การได้ลงมือปฏิบัติจริง
                            
4. การค้นคว้าเพิ่มเติมจากที่เรียนมา
                            
 5. การสรุปความคิดให้เป็นแก่นของความรู้ที่ได้
                            
 6. การมอบหมายงาน มีประเด็นว่าจะทำอะไร มีวัคถุประสงค์ว่าอย่างไร ส่งผลให้เกิดการวางแผนในการทำงาน
                            
7. การมีส่วนร่วม
                            
8. กระการในการแก้ปัญหา ในการแก้ปัญหาต้องหาว่าอะไรคือเหตุผล และจะแก้ปัญหาอย่างไร 
                            
9. การทดลอง  การลองผิดลองถูกจนได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง



* อาจารย์สั่งให้ทำบล็อกให้เรียบร้อย *
          
             

วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่  18  กันยายน 2555

ความรู้ที่ได้รับ

            มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์   ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม    ในเวลา  14 : 00  น. - 16 : 00 น.
            โดยกลุ่มข้าพเจ้าได้รับโจทย์คือ   " ของเล่นแม่เหล็ก "  จึงจัดทำเป็นฐานชื่อ แม่เหล็ก
มหัศจรรย์
ชื่อฐาน


อุปกรณ์

                                                                   
                                                                       

                                                                 


                                                                     

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคาร ที่11 กันยายน พ.ศ. 2555

              -อาจารย์ให้เตรียมงานที่ต้องจัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เด็กอนุบาลที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
              -อาจารย์ให้เตรียมอุปกรณ์ เตรียมรายการ ป้ายชื้อ
              -มีกิจกรรมทั้งหมด 3 ฐาน 
              -เสียง
                       1).ลูกโป่ง
                       2).การเดินทางของเสียง
                       3).ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
              -การเปลี่ยนเเปลง
                       1).ปิ้ง/ย่าง
                       2).นึ่ง/ต้ม
                       3).ทอด
              -เเม่เหล็ก
                       1).ขั่วต่างดูด
                       2).ขั่วเหมือนผลัก
                       3).ของเล่น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคาร ที่ 4 กันยายน 2555

ความรู้ที่ได้รับ

- อาจารย์ แนะนำเทคนิควิธีในการจัดป้ายนิเทศ การจัดทำบอร์ดดอกไม้ ที่นักศึกษานำมาส่งแต่ละกลุ่ม
- การวางแผนในการจัดป้ายนิเทศ การจัดไล่ดอก การจัดช่อดอกไม้
- การวางใบ การจัดเข้ามุม ดอกไม้ต้องมี ใบเลี้ยง ใบรอง จะได้ดูเป็นธรรมชาติ
- การนำสิ่งที่เราได้เรียนรู้และอบรม มาใช้จัดในบอร์ด
- การจัดต้องมีความทนทาน มีความแข็งแรง
- ในการจัด มีทั้ง ดอกไม้  ขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก เเละต้องสมดุล

- อาจารย์ให้ส่งสมุดเล่มเล็กที่ทำวิธีทำดอกไม้
- อาจารย์ตรวจงานที่ให้ทำทดลองกลุ่ม
-อาจารย์ให้จัดกิจกรรมในวันอังคารที่ 18 กันยายน 2555 เรื่อง
         1.เสียง                    - ลูกโป่ง
                                        - การเดินทางของเสียง
                                        - ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง
         2.การเปลี่ยนแปลง  - ปิ้ง/ย่าง (ขนมปัง)
                                        - นึ่ง/ต้ม   (ขนมต้ม)
                                        - ทอด      (เกี่ยว)
         3.แม่เหล็ก            - ของเล่น
                                        - ขั่วต่างดูด
                                        - ขั่วเหมือนผลัก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันอังคาร ที่ 28 สิงหาคม 2555

           - อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มทำบอร์ดดอกไม้ส่ง โดยเอาความรู้ที่ได้จากการได้เข้าอบรมในวัน เสาร์และอาทิตย์มาใช้
           - อาจารย์ให้ทำขั้นตอนของการทำดอกไม้และใบไม้ ชนิดต่างๆ ลงในสมุดวาดเขียนเล่มเล็ก  

บันทึกการเรียนครั้งที่ 12




* อบรม ทำดอกไม้กระดาษ


ในวันเสาร์ - อาทิตย์ ที่ 25 - 26 เดือน สิงหาคม 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11

 วันอังคารที่  21 สิงหาคม 2555

- อาจารย์ให้จับกลุ่ม 8 คน และแจกหนังสือเกี่ยวกับ4สาระ

* งานที่มอบหมาย *  -อาจารย์ให้จับกลุ่ม4 คน
  - คิดกิจกรรมจาก 4 สาระ
  - เขียนใส่กระดาษ
  - มีแนวคิด มีขั้นตอน มีสรุป

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10


วันอังคาร ที่ 14 สิงหาคม 2555
       

             * อาจารย์ไปราชการ *
           ( อาจารย์สอนชดเชยในวัน อาทิตย์ ที่ 26  เดือน สิงหาคม  พ.ศ. 2555 )

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9

วันอังคาร ที่ 7 สิงหาคม 2555            

              
             *ไม่มีการเรียนการสอน

     เรียนชดเชยวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8


วันอังคารที่ 31 กรกฏาคม 2555

    * สอบกลางภาค*

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7


วันอังคารที่ 24 กรกฏาคม 2555

             ความรู้ที่ได้รับ

              -  อาจารย์ถามว่าถ้าจะออกไปทัศนะศึกษาข้างนอก แหล่งที่เป็นวทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง
                                1. ไบเทค บางนา  งานวิทยาศาสตร์
                                2.  ท้องฟ้าจำลอง
                                3.  หุ่นขี้ผึ้ง
                                4.  พิพิทธภัณฑ์เด็ก
                                5.  พิพิทธภัณฑ์สัตว์น้ำบางแสน
                                6.   โอเชี่ยล

          
            ประโชยน์    

                      1.  ได้ประสบการณ์ตรง
                      2.  เกิดความสนุกสนาน

                      3.  ได้ความรู้
                      4.  เกิดการใฝ่รู้   ------   เกิดความสงสัย
                                         ------   เกิดคำถาม
                                         ------    เกิดความอยากรู้อยากเห็น
                 

                               

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

วันอังคาร ที่ 17 กรกฎาคม 2555 

ความรู้ที่ได้รับ

        -  มีการส่งงานที่ค้างสำหรับคนที่ยังไม่ส่ง
        -  ได้พูดถึงการเล่น  ว่าการเล่นเป็นเครื่องมือทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
        -  การที่ทำของเล่นขึ้นมา  แต่ละชิ้นเพื่อต้องการให้เด็กเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
        -  การฝึกให้เด็กทำสิ่ง ต่างๆ  เป็นการทำให้เด้กเรียนรู้การทำงานเป็นขั้นตอน  ได้ปฏิบัติจริง
        -  เราจะต้องรู้ว่าสิ่งที่เราจะไปทำกับเด็กให้เด็กเล่นนั้น  มันได้สะท้อนอะไรในความเป็นวิทยาศาสตร์
        -  มีการทบทวนเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานว่ามีอะไรบ้าง


กิจกรรมในห้องเรียน

          ให้ทุกคนในห้องแบ่งกลุ่ม  ตามหน่วยที่ตัวเองได้รับ  และช่วยกันทำ Mind Map  ว่าเราจะสอนเรื่องอะไรในแต่ละช่วงชั้น  อนุบาล 1  อนุบาล 2  และอนุบาล 3

วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5


วันอังคารที่ 10  กรกฎาคม 2555

ความรู้ที่ได้รับ

                - มีการนำเสนองานที่อาจารย์สั่งไว้เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา  2 ชิ้นงาน
                -  ของเล่นวิทยาศาสตร์  ที่เด้กสามารถเล่นเองได้ตามมุมวิทยาศาสตร์





                                                                     สกรีกระโดด



                -  ของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ใช้สอนให้เด็กทำได้



                                                                 แว่นขยายทำเอง


ข้อเสนอแนะของอาจารย์

           1.  ให้ทำนักสกีมาเพิ่ม
           2.  ให้ทำแผ่นรองมา  เพื่อใช้รองในการเล่นนักสกี
           3.  ให้หามาด้วยว่าของเล่นที่นำเสนอมันเป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร

งานที่สั่ง

           ให้นำวิธีทำพร้อมรูปภาพขั้นตอนการทำมาส่ง  เพื่อที่จะได้รวบรวมเป็นเล่ม

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม 2555

ความรู้ที่ได้รับ

-   ดูวีดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์แสนสนุกสำหรับเด็ก

-   ฝนเกิดจากอะไร
           ฝนตกเกิดจาก น้ำโดนความร้อนของแสงจากดวงอาทิตย์หรือความร้อนอื่นใดที่ใช้ในการต้มน้ำ จนทำให้ระเหยกลายเป็นไอน้ำ ลอยขึ้นไปในอากาศ เมื่อไอน้ำมากขึ้นจะรวมตัวกันเป็นละอองน้ำเล็กๆ ปริมาณของละอองน้ำยิ่งมากขึ้นเรื่อยๆก็จะรวมตัวกันเป็นเมฆฝน พอมากเข้าอากาศไม่สามารถพยุงละอองน้ำเหล่านี้ต่อไปได้ น้ำก็จะหล่นลงมายังผืนโลกให้เราเรียกขานกันว่าฝนตก

-   การเปลี่ยนสถานะของน้ำ
            วัฏจักรของน้ำ (water cycle) หรือชื่อในทางวิทยาศาสตร์ว่า วัฏจักรของอุทกวิทยา (hydrologic cycle) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้ำระหว่าง ของเหลว ของแข็ง และ ก๊าซ ในวัฏจักรของน้ำนี้ น้ำจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะไปกลับ จากสถานะหนึ่งไปยังอีกสถานะหนึ่ง อย่างต่อเนื่อง ไม่มีสิ้นสุด ภายในอาณาจักรของน้ำ (hydrosphere) เช่น การเปลี่ยนแปลงระหว่าง ชั้นบรรยากาศ น้ำพื้นผิวดิน ผิวน้ำ น้ำใต้ดิน และ พืช
          
การระเหย       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นก๊าซ โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆได้รับพลังงานหรือความร้อน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนสถานะเป็น ไอน้ำ
การระเหิด       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นก๊าซ โดยไม่ผ่านสถานะการเป็นของเหลว ได้แก่ น้ำแข็งแห้ง เปลี่ยนสถานะเป็น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การควบแน่น
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากก๊าซ กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อก๊าซนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ ไอน้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ
การแข็งตัว
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง โดยของแข็งนั้น สามารถเปลี่ยนสถานะกลับเป็นของเหลวได้ โดยการได้รับพลังงานหรือความร้อน
การตกผลึก
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของเหลว กลายเป็นของแข็ง โดยมักเกิดเมื่อของเหลวนั้นๆ สูญเสียความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำ เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำแข็ง แต่โดยทั่วไปแล้ว ตกผลึกนั้นนิยมใช้ กับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทางทางเคมี เสียมากกว่า เพราะโดยทั่วไปใช้กับสารประกอบหรือวัตถุ ที่ไม่สามารถหลอมเหลว หรือ ละลาย กลับเป็นของเหลวได้อีก
การหลอมเหลว หรือการละลาย
       คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร จากของแข็ง กลายเป็นของเหลว โดยมักเกิดเมื่อของแข็งนั้นๆ ได้รับความร้อนหรือพลังงาน ได้แก่ น้ำแข็ง เปลี่ยนแปลงสถานะเป็น น้ำ
* งานที่สั่ง *

          1. เมื่อได้หน่วยการเรียนรู้จากโรงเรียนอนุบาลสาธิตจันทรเกษม  แล้วให้ทำเป็น 
Mind Map  ว่าเราจะสอนอะไร   สิ่งที่จะต้องมีคือ  ภาพ  การทดลอง  และยกตัวอย่าง (งานกลุ่ม)
          2. ทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่เด้กสามารถเล่นเองได้ในมุมประสบการณ์ (จับคู่ 2 คน)
               - อุปกรณ์จะต้องเป็นเศษวัสดุเหลือใช้  
               - ถ่ายรูปเป็นขั้นตอน
          3. หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์มา 1 อย่าง   เพื่อที่จะนำมาสอนเด็ก (จับคู่ 2 คน)





             

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3


สรุปองค์ความรู้ที่เรียน

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 19  มิถุนายน  2555

ความรู้ที่ได้รับ
        
            - อาจารย์ได้ตั้งคำถามให้เราตอบ   คำว่า " รู้ "  มีอะไรบ้าง  
                     -  เรียนรู้
                     -  รับรู้
                     -  ความรู้
                     -  ผู้รู้
                     -  รอบรู้
                     -  ใฝ่รู้
             สิ่งเหล่านี้เราจะทำอย่างไร  เพื่อที่จะแยกแยะความแตกต่างได้   คือ  การแยกประเภท  เช่น  การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ  นามกับกริยา     นาม  ก็คือ  ความรู้ , ผู้รู้         กริยา  ก็คือ   เรียนรู้ , รับรู้ , รอบรู้  และใฝ่รู้   เป็นต้น
             
             - การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย   สามารถแยกความสำคัญออกเป็น
                      1.  การจัดประสบการณ์
                      2.  วิทยาศาสตร์
                      3.  เด็กปฐมวัย

สามารถแยกแยะรายละเอียดได้ดังนี้

               1.  การจัดประสบการณ์
                            -  หลักการจัดประสบการณ์
                            -  ทฤษฎี
                            -  กระบวนการจัดประสบการณ์
                            -  เทคนิควิธีการ
                            -  สื่อ / จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุน
                            -  การจัดประสบกสรณ์
                            -  วิธีการประเมินผล

               2.  วิทยาศาสตร์
                            -  ทักษะทางวิทยาศาสตร์  1. ทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน
                                                                               การสังเกต
                                                                               การจำแนกประเภท
                                                                               การวัด
                                                                               การสัมพันธภาพสเปส
                                                                               การจัดกระทำหรือสื่อความหมาย
                                                                               การลงความเห็นจากข้อมูล
                                                                       2. ขั้นผสม
                                                                                   กำหนดและควบคุมตัวแปร
                                                                                   ตั้งสมมติฐาน
                                                                                   กำหนดนิยาม
                                                                                   ทดลอง
                                                                                   สรุป

                            -  สาระทางวิทยาศาสตร์       1.  เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
                                                                         2.  เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก
                                                                         3.  เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว
                                                                         4.  เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ  รอบตัวเด็ก

              3.  เด็กปฐมวัย
                            -  พัฒนาการ     1.  สติปัญญา 
                                                                ความคิด (คิดเชิงเหตุผล , คิดเชิงความคิด
                                                                                          สร้างสรรค์)
                                                                ภาษา
                                                      2.  วิธีการเรียนรู้ของเด็ก
                                                                การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กระทำกับวัตถุ
                                                                                                   ( ตา  หู  จมูก  ลิ้น  และกาย )

* งานที่สั่ง *
             
          งานชิ้นที่ 1   ให้ไปหาพัฒนาการทางสติปัญญาที่เด่นที่สุด  ที่เป็นวิทยาศาสตร์  ของเด็กอายุ 5 ปี
          งานชิ้นที่ 2   ให้จับกลุ่ม 4-5 คน   ดูจากสาระทางวิทยาศาสตร์เลือกมา 1 หัวเรื่อง  แล้วแตกเนื้อหา  5 วันในการจัดกิจกรรม    และไปหามาว่า  " วันวิทยาศาสตร์ตรงกับวันที่เท่าไหร่ "
                           

วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1

 วันที่ 12 เดือนมิถุนายน 2555

วันนี้อาจารย์ไม่สอนให้เข้ามาเซ็นชื่อ อาจารย์สั่งงานไว้ดังนี้
- ทำบล็อควิทยาศาสตร์
- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค
- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาส
ตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)

* เข้ามาเช็คชื่อทุกคน!!!!